วันที่ 6 มิถุนายน 2567
คอลัมนิสต์
คอลัมนิสต์
วินาศ ! หวั่นรถบรรทุกชนคาน BTS แยกพญาไท
วันที่ 11 พฤษภาคม 2567
1 สัปดาห์ 20 บาท ตลอดสายมีนิวไฮ แต่ยังไม่หายห่วง !
วันที่ 24 ตุลาคม 2566
ชีวิตลมหายใจ คนปาเลสไตน์ใน “Gaza Strip” ท่ามกลางสมรภูมิเดือด
วันที่ 14 ตุลาคม 2566
แลนด์บริดจ์ อย่าให้ผิดหวังซ้ำซาก
วันที่ 10 ตุลาคม 2566
เปิดไฮสปีดเทรนอินโดฯ เร็วสุดในอาเซียน
วันที่ 3 ตุลาคม 2566
โกง/ขาด/คาดไม่ถึง: อาหารกลางวันเด็ก
วันทีี่ 27 มิถุนายน 2566
รัฐบาลใหม่จะขจัดคอร์รัปชันได้หรือไม่ ?
เพราะนี่คือต้นทุนทางธุรกิจที่หนักหนา
อัพค่าแรง นัยยะตัวแปร ถอดสลัก
..รศ.ดร.สมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์ เป็นที่ยอมรับกันว่า ความเหมาะสมของค่าแรงขั้นต่ำขึ้นอยู่กับอิทธิพลของหลายตัวแปร การศึกษาเกี่ยวกับค่าแรงขั้นต่ำ เพื่อแยกแยะความสำคัญของตัวแปร จึงอาจใช้วิธีการหนึ่งที่นิยมใช้ในแวดวงวิชาการ คือ การตรวจสอบทางสถิติว่า ตัวแปรต้นตัวใดมีอิทธิพลทีมีนัยสำคัญต่อตัวแปรตามที่เราสนใจจะศึกษา เนื่องจากไม่มีความสามารถในการวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์และสถิติเชิงลึกแบบนั้น โพสต์นี้ จะขอลองใช้การเชื่อมโยงตรรกะแบบง่ายๆมาวิเคราะห์ว่า อะไรเป็นเงื่อนไขที่่สำคัญสุดต่อความเป็นไปได้และความสำเร็จของการขึ้นค่าแรง การวิเคราะห์นี้ตั้งอยู่บนข้อกำหนดว่า การขึ้นค่าแรงจะไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อการจ้างงาน กล่าวคือ จำนวนแรงงานเท่าเดิม ภายใต้ข้อกำหนดว่า ต้องใช้แรงงานเท่าเดิม การขึ้นค่าแรง ย่อมทำให้ต้นทุนของธุรกิจเพิ่มขึ้นในระยะสั้น ดังนั้น ถ้าธุรกิจไม่มีขีดความสามารถในการสร้างรายได้เพิ่ม